เรียนพิเศษเขตบางซื่อ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS68
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตบางซื่อเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางซื่อ เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางซื่อ เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางซื่อ หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตบางซื่อ หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตบางซื่อ  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตบางซื่อ ครูสอนคณิตศาสตร์เขตบางซื่อ ครูสอนฟิสิกส์เขตบางซื่อ สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางซื่อ เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางซื่อ  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตบางซื่อ เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตบางซื่อ ครูเลขเขตบางซื่อ ครูวิทย์เขตบางซื่อ ติววิทยาศาสตร์เขตบางซื่อ ติววิทย์เขตบางซื่อ ติวคณิตเขตบางซื่อ ติวเลขเขตบางซื่อหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตบางซื่อ  อยู่เขตบางซื่อ โรงเรียนกวดวิชาเขตบางซื่อ  
บางซื่อ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ที่ตั้งและอาณาเขต เขตบางซื่อตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอเมืองนนทบุรี (จังหวัดนนทบุรี) มีคลองบางเขนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตจตุจักร มีคลองประปา ทางรถไฟสายใต้ และทางรถไฟสายเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตดุสิต มีคลองประปา คลองเปรมประชากร และคลองบางซื่อเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางพลัดและอำเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ประวัติ อำเภอบางซื่อ ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอชั้นนอกอำเภอหนึ่งในมณฑลกรุงเทพ โดยขึ้นตรงต่อกระทรวงนครบาลเมื่อ พ.ศ. 2437 ซึ่งเป็นปีที่เริ่มมีการปฏิรูปการปกครองเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาลในช่วงกลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในช่วงที่มีอาณาเขตกว้างขวางที่สุดนั้น อำเภอบางซื่อแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 14 ตำบล ได้แก่ ตำบลบางพลัด ตำบลบางอ้อ ตำบลบางโพ ตำบลบางกระบือ ตำบลถนนนครไชยศรี ตำบลสามเสนใน ตำบลสามเสนนอก ตำบลลาดยาว ตำบลสี่แยกบางซื่อ ตำบลบางซื่อใต้ ตำบลบางซื่อเหนือ ตำบลบางซ่อน ตำบลบางเขนใต้ และตำบลบางเขน (ครอบคลุมไปถึงพื้นที่บางส่วนของเขตบางพลัด เขตดุสิต เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตดินแดง เขตห้วยขวาง เขตจตุจักร และอำเภอเมืองนนทบุรีในปัจจุบัน) ในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2458 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) ได้มีประกาศกระทรวงนครบาลกำหนดเขตการปกครองในกรุงเทพพระมหานคร (หรือมณฑลกรุงเทพ) ขึ้นใหม่ และกำหนดให้อำเภอบางซื่อรวมอยู่ในท้องที่จังหวัดพระนคร ตลอดเวลาที่ผ่านมา ในเขตจังหวัดพระนครได้มีการปรับปรุงเขตการปกครองใหม่หลายครั้ง ตำบลในอำเภอบางซื่อหลายตำบลถูกยุบรวมกับตำบลอื่นหรือไม่ก็ถูกโอนไปขึ้นกับอำเภอข้างเคียง ทำให้อำเภอนี้มีขนาดเนื้อที่ลดลง ใน พ.ศ. 2470 ท้องที่อำเภอบางซื่อเหลือเพียงตำบลบางซื่อ บางซ่อน ลาดยาว สามเสนนอก สามเสนใน และบางกระบือเท่านั้น ในที่สุดเมื่อ พ.ศ. 2481 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล) ทางราชการมีคำสั่งให้รวมอำเภอที่มีจำนวนประชากรและปริมาณงานไม่มากเข้าด้วยกัน อำเภอบางซื่อจึงถูกยุบเลิก เหลือเพียงชื่อ ตำบลบางซื่อ เป็นเขตการปกครองย่อยของอำเภอดุสิตนับแต่นั้น ใน พ.ศ. 2514 มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และในปีถัดมา (พ.ศ. 2515) ก็มีประกาศคณะปฏิวัติเปลี่ยนรูปแบบการบริหารเมืองหลวงใหม่อีกครั้งจากนครหลวงกรุงเทพธนบุรีเป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบลตามลำดับ ตำบลบางซื่อจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงบางซื่อ และยังคงขึ้นกับเขตดุสิต ภายหลังเขตดุสิตมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น ท้องที่บางแห่งโดยเฉพาะแขวงบางซื่อ (ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือสุดของเขต) ยังอยู่ไกลจากสำนักงานเขตมาก ดังนั้น เพื่อให้หน่วยงานราชการสามารถดูแลได้อย่างทั่วถึงและสะดวกรวดเร็ว ในขั้นแรกกรุงเทพมหานครจึงได้ตั้งสำนักงานเขตดุสิต สาขา 1 รับผิดชอบในพื้นที่แขวงบางซื่อเมื่อ พ.ศ. 2532 ต่อมาในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 จึงมีประกาศกระทรวงมหาดไทยแยกแขวงบางซื่อออกจากเขตดุสิตและจัดตั้งเป็น เขตบางซื่อ ขึ้น เพื่อประโยชน์ในการปกครอง การบริหารราชการ และการให้บริการแก่ประชาชนที่ย้ายเข้ามาอยู่อาศัยในท้องที่มากขึ้น ประกาศฉบับดังกล่าวเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่กระทรวงออกประกาศนั่นเอง การคมนาคม ทางสายหลัก ได้แก่ ถนนพิบูลสงคราม ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 ถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ถนนรัชดาภิเษก ถนนวงศ์สว่าง ถนนประชาชื่น ถนนเตชะวณิช ถนนเทอดดำริ ทางพิเศษศรีรัช ถนนประชาราษฎร์ สาย 2 บริเวณแยกประชาชื่น สายรองและทางลัด ถนนริมคลองประปาฝั่งซ้าย ถนนริมคลองประปาฝั่งขวา ถนนรถไฟ ถนนริมทางรถไฟสายใต้ ซอยประชาราษฎร์ สาย 1 ซอย 24 / ซอยกรุงเทพฯ-นนทบุรี 5 (ประชานฤมิตร) ซอยประชาราษฎร์ สาย 1 ซอย 28 / ซอยกรุงเทพฯ-นนทบุรี 13 (ไสวสุวรรณ) ซอยกรุงเทพฯ-นนทบุรี 44 (สุภาร่วม) ซอยประชาชื่น 2 แยก 1 / ซอยประชาชื่น 2 แยก 2 / ซอยประชาชื่น 4 แยก 1 / ซอยประชาชื่น 4 แยก 2 / ซอยประชาชื่น 6 แยก 1 / ซอยประชาชื่น 6 แยก 2 (ริมคลองประปา) ซอยประชาชื่น 4 แยก 1-4 (พ่วงทรัพย์) เขตบางซื่อมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 2 แห่ง ได้แก่ สะพานพระราม 6 เชื่อมเขตบางซื่อกับเขตบางพลัด สะพานพระราม 7 เชื่อมเขตบางซื่อกับ
อำเภอบางกรวย รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ขณะวิ่งผ่านบนถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ก่อนเข้าสู่สถานีบางโพ ระบบขนส่งมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สถานีบางโพ สถานีเตาปูน และสถานีบางซื่อ) รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (สถานีเตาปูน สถานีบางซ่อน และสถานีวงศ์สว่าง) รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ–รังสิต (สถานีกลางบางซื่อ) รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน ช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน (สถานีบางซ่อน) สถานที่สำคัญ พระเจดีย์ วัดสร้อยทอง สะพานพระราม 6 สะพานพระราม 7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ศูนย์พระนครเหนือ เกทเวย์ แอท บางซื่อ โรงพยาบาลบางโพ วัด วัดทองสุทธาราม วัดประชาศรัทธาธรรม วัดมัชฌันติการาม วัดเลียบราษฎร์บำรุง วัดบางโพโอมาวาส วัดประดู่ธรรมาธิปัตย์ วัดเวตวันธรรมาวาส วัดสร้อยทอง วัดอนัมนิกายาราม การแบ่งเขตการปกครอง วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ลงนามในประกาศจัดตั้งแขวงวงศ์สว่างแยกจากพื้นที่แขวงบางซื่อโดยใช้ทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขตและให้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 21 กันยายน ปีเดียวกัน ส่งผลให้ในปัจจุบัน เขตบางซื่อแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่ บางซื่อ เป็นแขวงหนึ่งในเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางซื่อตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขตบางซื่อ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่แขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงวงศ์สว่าง (เขตบางซื่อ) และแขวงจตุจักร (เขตจตุจักร) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงจตุจักร (เขตจตุจักร) มีทางรถไฟสายเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงถนนนครไชยศรี (เขตดุสิต) มีคลองประปา คลองเปรมประชากร และคลองบางซื่อเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงบางอ้อ (เขตบางพลัด) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต วงศ์สว่าง เป็นแขวงหนึ่งในเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงวงศ์สว่างตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเขตบางซื่อ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่แขวงและตำบลข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบางเขน (อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี) มีคลองบางเขนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงลาดยาวและแขวงจตุจักร (เขตจตุจักร) มีคลองประปาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางซื่อ (เขตบางซื่อ) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลบางกรวย (อำเภอบางกรวย) ตำบลสวนใหญ่ และตำบลบางเขน (อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางเขนเป็นเส้นแบ่งเขต โรงเรียนกวดวิชาเขตบางซื่อ สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางซื่อ สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางซื่อ สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางซื่อ สอนพิเศษฟิสิกส์เขตบางซื่อ เรียนพิเศษคณิตศาสตร์บางซื่อ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางซื่อ เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางซื่อ เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางซื่อ ถนนรัชดาภิเษก (อักษรโรมัน: Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพระ ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 เป็นถนนสายสั้น ๆ เลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก แนวเส้นทางมีจุดเริ่มต้นที่ทางแยกเกียกกาย (จุดตัดกับถนนทหาร) ในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยเป็นแนวต่อเนื่องมาจากถนนสามเสน ขึ้นไปทางทิศเหนือ ข้ามคลองบางซื่อที่สะพานพิบูลสงคราม เข้าสู่พื้นที่แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ ตัดกับถนนประชาราษฎร์ สาย 2 ที่ทางแยกบางโพ ลอดใต้สะพานพระราม 6 ของทางรถไฟสายใต้เข้าสู่พื้นที่แขวงวงศ์สว่าง จากนั้นตัดกับถนนวงศ์สว่าง 2 ครั้ง ที่ทางแยกประชาราษฎร์ และสิ้นสุดที่ทางแยกพิบูลสงคราม โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องต่อไปคือถนนพิบูลสงคราม กรมการอุตสาหกรรมทหาร วัดประดู่ธรรมาธิปัตย์ สถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สถานีบางโพ ตลาดศรีเขมา โรงเรียนโยธินบูรณะ วัดสร้อยทอง โรงเรียนวัดสร้อยทอง สวนสาธารณะใต้สะพานพระราม 7 ถนนประชาชื่น (อักษรโรมัน: Thanon Pracha Chuen) เป็นถนนที่สร้างเลียบฝั่งตะวันตกของคลองประปาในเขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร, อำเภอเมืองนนทบุรี และอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Phra Nakhon; อักษรย่อ: มทร.พ. – RMUTP) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จัดการศึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ เสื้อผ้า แฟชั่น อาหาร การบริหารจัดการ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2548 โดยแยกออกจากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้รับการสถาปนาขึ้นในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็นมหาวิทยาลัยที่ในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยวิทยาเขตเดิม 5 แห่ง ได้แก่ วิทยาเขตเทเวศร์ ปัจจุบันคือ ศูนย์เทเวศร์ เป็นที่ตั้งของ สำนักงานอธิการบดี, คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และคณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน วิทยาเขตโชติเวช ปัจจุบันคือ ศูนย์โชติเวช เป็นที่ตั้งของ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ วิทยาเขตพณิชยการพระนคร ปัจจุบันคือ ศูนย์พณิชยการพระนคร เป็นที่ตั้งของ คณะบริหารธุรกิจ และคณะศิลปศาสตร์ วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ปัจจุบันควบรวมเข้ากับศูนย์พณิชยการพระนคร เป็นที่ตั้งของ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น วิทยาเขตพระนครเหนือ ปัจจุบันคือ ศูนย์พระนครเหนือ เป็นที่ตั้งของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะวิศวกรรมศาสตร์ รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (บางใหญ่-เตาปูน-ราษฎร์บูรณะ) (อังกฤษ: Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line, MRT Purple Line)  เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)  ปัจจุบันโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) ได้แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือเส้นทางช่วงเตาปูน-คลองบางไผ่ ที่เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ โดยพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์ ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการเดินรถ และกดปุ่มเปิดระบบรถไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ และเส้นทางช่วงเตาปูน-ครุใน
 
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้