โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยนั้น เมื่อโอนมาอยู่ทางกรมสามัญศึกษาได้ก็ให้โอนมา กระทรวงจะเป็นผู้จัดสอบประโยคเตรียมอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จะจัดสอบคัดเลือกผู้ที่จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยอีกชั้นหนึ่ง ในการประชุมครั้งต่อมา กำหนดให้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยรับนักเรียนใหม่ในปีการศึกษา พ.ศ. 2489 จำนวน 100 คนและกำหนดจะให้เปิดสอนชั้นเตรียมอุดมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลในจังหวัดพระนคร ธนบุรี พระนครศรีอยุธยา เชียงใหม่ สงขลาและอุบลราชธานี จังหวัดละ 2 โรงเรียน การเปลี่ยนแปลงนโยบายครั้งนี้ก็เท่ากับว่าเป็นการรื้อฟื้นชั้นมัธยมปีที่ 8 กลับมาอีก ไม่เหมือนนโยบายที่ประกาศครั้งสุดท้ายเมื่อ พ.ศ. 2484 เพราะกลับเพิ่มชั้นเตรียมอุดมศึกษาในโรงเรียนรัฐบาลแทนที่จะยุบ เรื่องนี้ได้พูดกันในที่ประชุมกรรมการอำนวยการคุรุสภาครั้งหนึ่ง กรรมการบางท่านไม่เห็นด้วยกับนโยบายนี้ บอกว่าเป็นการเตรียมเสมียนและเป็นยาหอมสำหรับประชาชนมากกว่าอย่างอื่น เหตุการณ์นี้เป็นผลให้โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองมีอันยุบไป โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยก็ได้จัดการสอบคัดเลือกรับนักเรียนสำหรับโรงเรียนของตนเอง ประชาชนยังนิยมอยู่ มีผู้สมัครมากกว่าโรงเรียนอื่น ๆ โรงเรียนรัฐบาลในส่วนกลางแห่งหนึ่งมีผู้สมัครเพียง 30 คนเท่านั้น ขณะที่สมัครที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1,112 คน ทุกโรงเรียนสอบคัดเลือกพร้อมในวันเดียวกัน พอสอบรับสมัครนักเรียนใหม่แล้ว โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาก็จัดการสอบประจำปี พ.ศ. 2487 ซึ่งค้างเติ่งมาถึงต้นปีการศึกษา 2489 สอบปี 1 และปีที่ 2 พร้อมกัน มีผู้สอบประมาณ 3,000 คน ในจำนวนนี้ จบหลักสูตรได้เข้ามหาวิทยาลัย 664 คน จำนวนนักเรียนที่เหลือศึกษาอยู่ในโรงเรียนจึงมากพอใช้ สิ้นเดือนตุลาคม พ.ศ. 2489 ทหารฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้คืนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาให้แก่ประเทศไทย โดยมีทหาร ส.ห. เป็นผู้รับมอบแล้วจึงมอบให้แก่โรงเรียนอีกชั้นหนึ่ง บัดนี้นักเรียนก็ได้ทยอยกลับเข้ามาเรียนยังโรงเรียนทีละนิด ผู้อำนวยการโรงเรียนร้องว่าจะซ่อมโรงเรียนไปทำไมกัน เมื่อสภามหาวิทยาลัยประชุมตกลงว่าจะให้ย้ายโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาไปสังกัดกรมสามัญศึกษา ซึ่งขณะนั้นดูเหมือนหมายความว่าจะให้ย้ายอาจารย์และนักเรียนไปจากโรงเรียนเดิมให้หมดด้วย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาได้ต่อสู้ที่จะอยู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไม่เป็นผลสำเร็จ เกิดความยุ่งยากบางอย่างที่ไม่ได้คาดฝัน เช่นในต้น พ.ศ. 2490 ทั้งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและกรมสามัญศึกษาต่างก็จะไม่วางฎีกาเบิกเงินเดือนให้ครูอาจารย์ เรื่องการโอนโรงเรียนนี้จึงโอ้เอ้กันอยู่นาน เรื่องนี้กระทบกระเทือนจิตใจอาจารย์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาไม่น้อยกว่าเมื่อได้ยินวิทยุกระจายเสียงประกาศว่าจะยุบโรงเรียน เสียดายพระเกี้ยว ซึ่งเป็นตราของโรงเรียนอยู่เช่นเดียวกับของมหาวิทยาลัยและเสียดายสร้อยชื่อ "แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งหม่อมหลวงปิ่นได้กล่าวว่า "โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ชื่อยาวนัก จึงได้เปลี่ยนเป็น "โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา" เฉย ๆ แต่พระเกี้ยวนั้นเป็นของสูง จะทิ้งกันได้อย่างไร โรงเรียนได้เก็บไว้เป็นเครื่องหมายรวมจิตใจ ของอาจารย์และนักเรียนจนกระทั่งทุกวันนี้ อาคารสถานที่ของโรงเรียนขณะนั้นชำรุดทรุดโทรมเป็นอย่างมาก โรงเรียนจึงต้องดำเนินการซ่อมแซมปรับปรุงเป็นการใหญ่ นอกจากนั้นก็ต้องปรับปรุงจิตใจของนักเรียนด้วย งานทางด้านนี้ที่บังเกิดผลดีคือ ได้จัดตั้งคณะกรรมการนักเรียนขึ้นเพื่อให้จัดการในเรื่องที่ควรปล่อยให้นักเรียนทำเอง ให้ใช้ห้อง ๖๐ ที่โรงหัตถกรรมเป็นสำนักงานเรียกกรรมการนักเรียนนี้ว่า "กรรมการห้อง ๖๐" ซึ่งถือได้ว่า โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจัดตั้งคณะกรรมการนักเรียนขึ้นมาเป็นครั้งแรกของประเทศไทย นอกจากนี้ยังได้แบ่งนักเรียนออกเป็นคณะ ๆ รวม 6 คณะ แต่ละคณะให้มี "สี" ประจำคณะ (ปัจจุบัน มี 7 สี ได้แก่ สีเหลือง สีเขียว สีฟ้า สีแดง สีแสด สีม่วง และสีบานเย็น) และมีการแข่งขันกีฬาสีเป็นโรงเรียนแรก อีกด้วย แต่เรื่องสำคัญที่สุดในปี พ.ศ. 2490 ก็ย่อมเป็นเรื่องขยายการศึกษา กล่าวคือเมื่อโรงเรียนรัฐบาลอื่น ๆ และโรงเรียนราษฎร์ต่างก็จัดชั้นเตรียมอุดมศึกษาได้ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงไม่มีความสำคัญมากนัก แต่มีผู้มีความสามารถอยู่เป็นจำนวนมาก ประจวบกับเป็นเวลาหลังสงคราม กระทรวงศึกษาธิการกำลังขยายการศึกษา ต้องการครูชั้นสูงเป็นจำนวนมาก คณะรัฐมนตรีจึงได้อนุมัติให้จัดตั้งแผนกฝึกหัดครูมัธยมขึ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 เป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีอาจารย์หม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูร ได้ทรงเป็นหัวหน้างานใหม่นี้ ปลายปีการศึกษา 2490 (มีนาคม พ.ศ. 2491) โรงเรียนจำใจต้องให้หม่อมเจ้าวงษ์มหิป ชยางกูร โอนไปรับราชการกระทรวงการต่างประเทศ ท่านได้ทรงเป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการมาได้ 4 ปี ในปี พ.ศ. 2496 จัดตั้ง โรงเรียนสาธิตปทุมวัน เพื่อเป็นหน่วยสาธิตของ แผนกฝึกหัดครูมัธยม โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (ฝค.ตอ.) ซึ่งโรงเรียนนี้นับเป็นแห่งแรกที่ใช้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิต" โดยดำเนินงานตามรูปแบบโรงเรียนมัธยมหอวังฯ เดิม (ต่อมา ฝค.ตอ. ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น วิทยาลัยวิชาการศึกษา ปทุมวัน และ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ตามลำดับ) ในปี พ.ศ. 2503 มีการเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษาแห่งชาติใหม่ เรียกชั้นเตรียมอุดมศึกษาปีที่ 1 และปีที่ 2 เดิมว่า ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 (มศ.4 - มศ.5) แผนกศิลปะ แผนกวิทยาศาสตร์ และแผนกทั่วไป มีหลักสูตรสองปีเท่าเดิม โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จึงเป็นชื่อเฉพาะที่มีความหมายเช่นเดิม เพราะนักเรียนที่เข้ามาเรียนในโรงเรียนนี้ ส่วนมากต้องการเรียนต่อระดับอุดมศึกษา ในปี พ.ศ. 2533 กระทรวงศึกษาธิการปรับหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ โดยหลักสูตร 2 ปี ปรับให้เป็นหลักสูตร 3 ปี (ม.4 - ม.6) ปัจจุบัน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา มีฐานะเป็นโรงเรียนเครือข่ายวิชาการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วยกัน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ โรงเรียนสาธิตปทุมวัน โดยนักเรียนของทั้ง 3 โรงเรียนนี้ จะได้รับสิทธิเข้าเรียนโครงการเรียนล่วงหน้าจุฬาฯ (CUAP Program) ในรายวิชาที่นักเรียนสนใจและถนัดเป็นพิเศษ นอกจากนี้ ยังมีโครงการพิเศษที่ริเริ่มขึ้นมาสำหรับนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาโดยเฉพาะ ได้แก่ โครงการพัฒนานักอักษรศาสตร์รุ่นใหม่
โรงเรียนกวดวิชาบ้านครูตี๋ สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด o net o-net onet ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4 onsite เรียนออนไซต์ กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว tutor วิทย์ ติวเตอร์ ดีวีดี วีดีโอ ออนไลน์ DVD VDO online เรียนออนไซต์ onsite อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? video วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี? onsite เรียนออนไซต์ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2 A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์ A-level โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2 A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวสอบเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เรียนพิเศษเข้าโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สอนพิเศษเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กวดวิชาเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนกวดวิชาเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ติวเตอร์เข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ติวเข้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แนวข้อสอบเข้า ม.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา แนวข้อสอบเข้า ม.4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เก็งข้อสอบเข้า ม.1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เก็งข้อสอบเข้า ม.4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา