เรียนพิเศษเขตยานนาวา
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS68
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตยานนาวาเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตยานนาวา เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตยานนาวา เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตยานนาวา หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตยานนาวา หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตยานนาวา  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตยานนาวา ครูสอนคณิตศาสตร์เขตยานนาวา ครูสอนฟิสิกส์เขตยานนาวา สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตยานนาวา เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตยานนาวา  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตยานนาวา เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตยานนาวา ครูเลขเขตยานนาวา ครูวิทย์เขตยานนาวา ติววิทยาศาสตร์เขตยานนาวา ติววิทย์เขตยานนาวา ติวคณิตเขตยานนาวา ติวเลขเขตยานนาวาหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตยานนาวา  อยู่เขตยานนาวา โรงเรียนกวดวิชาเขตยานนาวา     โรงเรียนกวดวิชาเขตยานนาวา สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตยานนาวา สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตยานนาวา สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตยานนาวา สอนพิเศษฟิสิกส์เขตยานนาวา เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ยานนาวา เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตยานนาวา เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตยานนาวา เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตยานนาวา
ยานนาวา เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ที่ตั้งและอาณาเขต เขตยานนาวาตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตสาทรและเขตคลองเตย มีถนนจันทน์ คลองช่องนนทรี ถนนจันทน์เก่า ถนนนางลิ้นจี่ ถนนเย็นอากาศ ซอยเชื้อเพลิง 4 (ศรีรุ้ง) ขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออก และแนวเส้นตรงที่ต่อจากปลายทางรถไฟสายแม่น้ำไปบรรจบกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) และเขตราษฎร์บูรณะ มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางคอแหลมและเขตสาทร มีคลองบางมะนาว ถนนรัชดาภิเษก แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตยานนาวากับเขตบางคอแหลม และถนนสาธุประดิษฐ์เป็นเส้นแบ่งเขต ประวัติศาสตร์ แต่เดิมบริเวณยานนาวา (รวมสาทรและบางคอแหลม) มีชื่อเรียกว่า "บ้านทะวาย" เนื่องจากมีชาวเมืองทวายอาศัยอยู่จำนวนมาก เมื่อมีการปรับปรุงการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บริเวณนี้จึงได้รับการจัดตั้งเป็น อำเภอบ้านทะวาย ขึ้นอยู่กับจังหวัดพระประแดง ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร ส่วนการเปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอยานนาวานั้นเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2482 ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มีนโยบายชาตินิยม จึงได้มีการเปลี่ยนชื่ออำเภอนี้เป็น อำเภอยานนาวา เนื่องจากชื่อบ้านทะวายมีสำเนียงเป็นภาษาต่างด้าว ภายหลังได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอยานนาวาจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตยานนาวา มีพื้นที่การปกครอง 8 แขวง ได้แก่ แขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน แขวงทุ่งมหาเมฆ (ปัจจุบันอยู่ในเขตสาทร) แขวงช่องนนทรี แขวงบางโพงพาง (ปัจจุบันอยู่ในเขตยานนาวา) แขวงบางโคล่ แขวงบางคอแหลม และแขวงวัดพระยาไกร (ปัจจุบันอยู่ในเขตบางคอแหลม) ต่อมาพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้นมาก พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กรุงเทพมหานครจึงจัดตั้งสำนักงานเขตยานนาวา สาขา 1 (แขวงยานนาวา) และสำนักงานเขตยานนาวา สาขา 2 (แขวงบางคอแหลม) ขึ้นดูแลพื้นที่บางส่วนใน พ.ศ. 2532 และได้ยกฐานะเป็นสำนักงานเขตสาทรและสำนักงานเขตบางคอแหลมในปีเดียวกัน ส่วนวัดยานนาวาและแขวงยานนาวาซึ่งเป็นที่มาของชื่อเขตนั้น ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่เขตสาทร การขนส่ง ถนนพระรามที่ 3 ทางสายหลัก ถนนพระรามที่ 3 ถนนรัชดาภิเษก ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ถนนสาธุประดิษฐ์ ถนนนางลิ้นจี่ ถนนเย็นอากาศ ถนนจันทน์ ถนนยานนาวา (สาธุประดิษฐ์–พระรามที่ 3) ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางสายรอง ถนนจันทน์เก่า ถนนเชื้อเพลิง ซอยสาธุประดิษฐ์ 58 (ประดู่) สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา สะพานพระราม 9 เชื่อมเขตยานนาวากับเขตราษฎร์บูรณะ สะพานคู่ขนานสะพานพระราม 9 เชื่อมเขตยานนาวากับเขตราษฎร์บูรณะ สะพานภูมิพล 1 เชื่อมเขตยานนาวากับอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ การแบ่งเขตการปกครอง เขตยานนาวาแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 2 แขวง ได้แก่ ช่องนนทรี เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงช่องนนทรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเขตยานนาวา มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงและตำบลข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงทุ่งวัดดอน แขวงทุ่งมหาเมฆ (เขตสาทร) และแขวงคลองเตย (เขตคลองเตย) มีถนนจันทน์ คลองช่องนนทรี ถนนจันทน์เก่า ถนนนางลิ้นจี่ ถนนเย็นอากาศ ซอยเชื้อเพลิง 4 (ศรีรุ้ง) ขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออก และแนวเส้นตรงที่ต่อจากปลายทางรถไฟสายแม่น้ำไปบรรจบกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลบางกะเจ้าและตำบลบางยอ (อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางโพงพาง (เขตยานนาวา) มีคลองใหม่และแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงช่องนนทรีกับแขวงบางโพงพางเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงบางโพงพาง (เขตยานนาวา) แขวงบางโคล่ (เขตบางคอแหลม) และแขวงทุ่งวัดดอน (เขตสาทร) มีถนนสาธุประดิษฐ์เป็นเส้นแบ่งเขต บางโพงพาง เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางโพงพางตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเขตยานนาวา มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงและตำบลข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือและทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับแขวงบางโคล่ (เขตบางคอแหลม) และแขวงยานนาวา (เขตสาทร) มีคลองบางมะนาว ถนนรัชดาภิเษก และแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตยานนาวากับเขตบางคอแหลมเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงช่องนนทรี (เขตยานนาวา) มีถนนสาธุประดิษฐ์ แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงช่องนนทรีกับแขวงบางโพงพาง และคลองใหม่เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลบางยอ ตำบลทรงคนอง และตำบลบางพึ่ง (อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับแขวงราษฎร์บูรณะ (เขตราษฎร์บูรณะ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต  
ถนนพระรามที่ 3 (อักษรโรมัน: Thanon Rama III) เป็นถนนเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มตั้งแต่สะพานกรุงเทพในพื้นที่แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนเจริญกรุง (แยกถนนตก) ข้ามคลองวัดจันทร์ในเข้าสู่พื้นที่แขวงบางโคล่ ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเจริญราษฎร์ (แยกเจริญราษฎร์) ข้ามคลองบางมะนาว ตัดกับถนนรัชดาภิเษก (แยกพระรามที่ 3-รัชดา) เข้าสู่พื้นที่แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนสาธุประดิษฐ์ (แยกสาธุประดิษฐ์) โค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองใหม่เข้าสู่พื้นที่แขวงช่องนนทรี ไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนยานนาวา (แยกพระรามที่ 3-ยานนาวา) ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (แยกพระรามที่ 3-สะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (แยกพระรามที่ 3-นราธิวาส หรือแยกช่องนนทรี) และถนนนางลิ้นจี่ (แยกนางลิ้นจี่) ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนเชื้อเพลิงและทางรถไฟเก่าสายแม่น้ำเข้าสู่พื้นที่แขวงคลองเตย เขตคลองเตย และไปสิ้นสุดที่แยก ณ ระนอง (จุดตัดกับถนนสุนทรโกษา ถนนรัชดาภิเษก และถนน ณ ระนอง) ถนนพระรามที่ 3 ในปัจจุบัน มีระบบขนส่งมวลชนขนาดรองพาดผ่านถนนสายนี้ คือ รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์ หรือที่นิยมเรียกกันติดปากว่า บีอาร์ที (BRT) โดยพาดผ่านถนนพระรามที่ 3 ตั้งแต่ทางแยกพระรามที่ 3-นราธิวาส ถึง เชิงสะพานพระราม 3 ฝั่งพระนคร ถนนรัชดาภิเษก (อักษรโรมัน: Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพระ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ (อักษรโรมัน: Thanon Naradhiwas Rajanagarindra) เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่เขตบางรัก เขตสาทร และเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร ลักษณะเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้าง 60 เมตร ระยะทาง 5.115 กิโลเมตร เริ่มจากถนนสุรวงศ์ในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้พร้อมกับเลียบคลองช่องนนทรี ตัดกับถนนสีลมเข้าพื้นที่แขวงสีลม ตัดกับถนนสาทรเข้าพื้นที่เขตสาทร โดยฝั่งซอยเลขคี่เป็นท้องที่ของแขวงทุ่งมหาเมฆ ส่วนฝั่งซอยเลขคู่เป็นท้องที่แขวงยานนาวา จนถึงปากซอยนราธิวาสราชนครินทร์ 8 (อาคารสงเคราะห์ 6) จึงเข้าท้องที่แขวงทุ่งวัดดอน ตัดกับถนนจันทน์ เฉพาะฝั่งซอยเลขคู่เข้าสู่ท้องที่แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา ส่วนฝั่งซอยเลขคี่ยังอยู่ในท้องที่แขวงทุ่งมหาเมฆจนกระทั่งตัดกับถนนจันทน์เก่า จากนั้นตัดกับถนนรัชดาภิเษก และไปบรรจบกับถนนพระรามที่ 3 ที่แยกพระรามที่ 3-นราธิวาส (ช่องนนทรี) ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ตัดขึ้นตามโครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำและถนนเลียบคลองช่องนนทรี ในแผนพัฒนากรุงเทพมหานครฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2535-2539) เมื่อสร้างแล้วเสร็จถนนสายนี้ยังไม่มีชื่อทางการ ดังนั้น เพื่อความสะดวกแก่ประชาชนที่สัญจรไปมา เพื่อความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ตลอดจนหน่วยงานราชการต่าง ๆ และเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์[1] กรุงเทพมหานครจึงได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญพระนามของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ มาเป็นนามถนนอย่างเป็นทางการว่า ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตเมื่อปี พ.ศ. 2539 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ สยามแม็คโคร สาทร ตึกมหานคร สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสช่องนนทรี สถานีรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที สายสาทร–ราชพฤกษ์ วัดโพธิ์แมนคุณาราม ถนนสาธุประดิษฐ์ (อักษรโรมัน: Thanon Sathu Pradit) เป็นถนน 2 ช่องจราจรในกรุงเทพมหานคร มีระยะทางตั้งแต่ถนนจันทน์ที่ทางแยกจันทน์-สาธุประดิษฐ์ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ในพื้นที่แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา จากนั้นตัดกับถนนรัชดาภิเษก ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตัดกับถนนพระรามที่ 3 ที่ทางแยกสาธุประดิษฐ์ และไปสิ้นสุดที่ท่าเรือสาธุประดิษฐ์ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา มีประวัติว่าสมัยก่อนผู้ที่ร้องขอกับทางการให้มีการสร้างถนนสายนี้เป็นคนในตระกูลสาธุประดิษฐ์ ปัจจุบันยังมีอนุสรณ์สถานท่านผู้มีพระคุณผู้นี้ตั้งไว้ที่ริมถนนสาธุประดิษฐ์ บริเวณปากซอยสาธุประดิษฐ์ 20 ซึ่งอยู่ระหว่างโรงเรียนสารสาสน์กับทางแยกจันทน์-สาธุประดิษฐ์ ถนนจันทน์ เป็นถนนที่เชื่อมต่อระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนนางลิ้นจี่ และยังตัดกับถนนนราธิวาสราชนครินทร์ มีจุดขึ้นทางด่วนทางพิเศษศรีรัช ถนนมีความยาวประมาณ 3.5 กิโลเมตร เดิมทีเป็นตรอกเล็ก ๆ เรียกว่า ตรอกจันทน์ เป็นตรอกซอยเล็กลักษณะคดเคี้ยว เมื่อมีการตัดถนนให้กว้างและเป็นเส้นตรง ถนนจันทน์เส้นเดิมจึงกลายเป็นถนนที่แยกออกไป แล้วก็ได้ชื่อว่า "ถนนจันทน์เก่า" ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติมากขึ้น พื้นที่ตรอกจันทน์มีคนหลากหลายเชื้อชาติและวัฒนธรรมเข้ามาตั้งถิ่นฐานโดยเฉพาะกลุ่มชาวจีนแต้จิ๋วและจีนกวางตุ้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าคงขยับขยายการตั้งถิ่นฐานจากย่านเยาวราชและบางรัก เหตุเพราะทำเลบริเวณนี้ใกล้กับท่าเรือเพื่อทำการค้าซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวจีนที่เข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย ตัวอย่างเช่น สำนักงานของบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ (CPF) ที่ตั้งอยู่บนถนนจันทน์ นอกจากนั้นยังมีชาวมุสลิมและชาวตะวันตกที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาคริสต์ มีศาสนาสถานเช่นมัสยิดดารุ้ลอาบิดีน หรือ มัสยิดตรอกจันทน์ สร้างใน พ.ศ. 2455[3] โบสถ์คริสต์มีวัดนักบุญยอแซฟสร้างเมื่อ พ.ศ. 2498 ตั้งอยู่ในซอยจันทน์ 43 ซอยเดียวกับวัดไผ่เงินโชตนาราม วัดพุทธอีกแห่งบนถนนจันทน์คือ วัดลุ่มเจริญศรัทธาอยู่ในซอยจันทน์ 42 นับตั้งแต่ พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา พื้นที่บริเวณถนนจันทน์ได้รับการพัฒนาเป็นโครงการที่อยู่อาศัย 
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้