ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยมหิดล   เรียนพิเศษ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS68
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 
มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระบบหน่วยกิต ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยทั้งสิ้น 629 สาขาวิชา ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ทั้งในหลักสูตรไทยและหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่สามารถผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศ ในปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีปริมาณนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด[44] และใน พ.ศ. 2549 และได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติจากนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Export Award 2006) เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด (Most recognized service) ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดล มีส่วนงานและกลุ่มภารกิจในสังกัด ประกอบด้วย 17 คณะ 10 สถาบัน 6 วิทยาลัย 3 วิทยาเขต และหน่วยงานต่างๆ[46] นอกจากนี้ยังมีสถาบันสมทบอีกหลายสถาบัน ซึ่งนักศึกษาของบางสถาบันเข้าร่วมการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยมหิดล ในขณะที่บางสถาบันมีหลักสูตรเป็นเอกเทศ คณะ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะกายภาพบำบัด คณะเวชศาสตร์เขตร้อน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย คณะวิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัย วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยราชสุดา ยุบ 1 มิถุนายน 2566  วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา วิทยาลัยศาสนศึกษา  สถาบัน สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน สถาบันวิจัยประชากรและสังคม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย สถาบันวิทยาศาสตร์การวิเคราะห์และตรวจสารในการกีฬา สถาบันโภชนาการ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว โครงการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา สถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ศูนย์และกลุ่มภารกิจ ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและพิษวิทยา ศูนย์ความเป็นเลิศด้านคณิตศาสตร์ กลุ่มภารกิจสุขภาพโลกมหิดล กลุ่มภารกิจการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย์ กลุ่มภารกิจศูนย์ปฏิบัติการด้านชีววิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ วิทยาเขต วิทยาเขตกาญจนบุรี โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตอำนาจเจริญ สถาบันสมทบ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์  วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์  สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน สถาบันสมทบและสถาบันร่วมผลิตในอดีต วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล (จัดตั้งเป็นคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช) วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ (จัดตั้งเป็นคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช) สถาบันพระบรมราชชนก (จัดตั้งเป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงสาธารณสุข) โครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา (โอนไปสังกัดคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี) ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช (โอนไปสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก) ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ (โอนไปสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก) ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลราชบุรี จังหวัดราชบุรี (โอนไปสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก) โรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์ โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ และอาคารสถานีรถไฟธนบุรีเดิม เนื่องจากมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ จึงมีโรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์หลายแห่ง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมีโรงพยาบาลศิริราช ซึ่งเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกและโรงพยาบาลที่มีจำนวนเตียงผู้ป่วยมากที่สุดในประเทศไทย, โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ ซึ่งสร้างขึ้นบนพื้นที่ที่การรถไฟแห่งประเทศไทยบริจาคให้ และสถาบันการแพทย์สยามินทราธิราช ศูนย์การแพทย์ทั้งสามแห่งตั้งอยู่บริเวณเดียวกันในแขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย นอกจากนี้ คณะยังมีศูนย์การแพทย์อีกหนึ่งแห่ง นั่นคือ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับพื้นที่ศาลายาโดยมีถนนบรมราชชนนีคั่นกลาง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มีโรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์สองแห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลรามาธิบดี ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 6 ในเขตราชเทวี และสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ตั้งอยู่ในอำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ นอกเหนือจากคณะแพทยศาสตร์แล้ว คณะเวชศาสตร์เขตร้อนก็มีโรงพยาบาลเป็นของตนเอง ตั้งอยู่ริมถนนราชวิถี ใกล้กับอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เช่นเดียวกันกับคณะทันตแพทยศาสตร์ ที่มีโรงพยาบาลตั้งอยู่ภายในคณะ คณะสัตวแพทยศาสตร์มีโรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทรและโรงพยาบาลปศุสัตว์และสัตว์ป่าปศุปาลันในพื้นที่ศาลายา และวิทยาเขตนครสวรรค์ ก็มีศูนย์การแพทย์มหิดลเป็นของตนเองด้วยเช่นกัน สื่อ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยมหิดล มีฐานเดิมจาก "ห้องอ่านหนังสือ" ของโรงเรียนราชแพทยาลัย ต่อมาใน พ.ศ. 2468 ได้ก่อตั้งเป็น "ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์" และใน พ.ศ. 2499 กฤษฎีกาการจัดวางระเบียบราชการของกรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้ยกฐานะห้องสมุดเป็น "แผนกห้องสมุด" สังกัดสำนักงานเลขานุการ กรมมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งขณะนั้นทำหน้าที่เป็นห้องสมุดของทั้งมหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาลด้วย ห้องสมุดยกฐานะเป็น "กองห้องสมุด" ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 4 สิงหาคม 2520 ต่อมากองห้องสมุดได้รับการสถาปนาเป็น "สำนักหอสมุด" ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 103 ตอนที่ 140 วันที่ 8 สิงหาคม 2529 โดยมีฐานะเทียบเท่าคณะ มหาวิทยาลัยได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยดำเนินงานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ทำให้มีทรัพยากรห้องสมุดในรูปแบบที่หลากหลาย ต่อมาในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 สภามหาวิทยาลัยมหิดลได้เปลี่ยนชื่อสำนักหอสมุดเป็น "หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล" โดยเป็นส่วนงานหนึ่งในระดับคณะ พิพิธภัณฑ์ ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหิดลมีพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุที่เปิดให้บริการหลายแห่ง ทั้งในพื้นที่ศาลายา พื้นที่บางกอกน้อย พื้นที่พญาไท และวิทยาเขตกาญจนบุรี
.
มหาวิทยาลัยมหิดล (อังกฤษ: Mahidol University; อักษรย่อ: MU) เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ตั้งอยู่ในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และมีที่ตั้งอีกหลายแห่ง ทั้งในกรุงเทพมหานคร จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดลมีที่มาจากโรงเรียนแพทยากร (โรงพยาบาลศิริราชในปัจจุบัน) ซึ่งก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2432 ก่อนที่จะถูกรวมเข้ากับโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ เพื่อสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งเปลี่ยนสถานะเป็น คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และถูกเปลี่ยนชื่อเป็น คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล ต่อมาในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ได้แยกคณะวิชาด้านแพทยศาสตร์สี่คณะ มาจัดตั้งเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์[1] และในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "มหิดล" อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก[8]  ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดลจัดการเรียนการสอนใน 17 คณะ 6 วิทยาลัย 9 สถาบัน และ 3 วิทยาเขต และเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศไทยจากการจัดอันดับของสำนักจัดอันดับหลายสำนัก และได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติเมื่อ พ.ศ. 2552 และยังเป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network; AUN) มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา เลขที่ 999 ถนนพุทธมณฑล สาย ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท เลขที่ 272 ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 มหาวิทยาลัยมหิดล บางกอกน้อย เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เลขที่ 199 หมู่ 9 ถนนแสงชูโต ตำบลลุ่มสุ่ม อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์ เลขที่ 402/1 หมู่ 5 ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ 60130 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอำนาจเจริญ เลขที่ 259 หมู่ 13 ถนนชยางกูร ตำบลโนนหนามแท่ง อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ 37000   ตราสัญลักษณ์สมัยที่ยังเป็นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ตราสัญลักษณ์เป็นตราวงกลม 2 ชั้น ภายในเป็นรูปงูพันคบเพลิง วงนอกด้านบนเขียนว่า "อตฺตานํ อุปมํ กเร" ด้านล่างเขียนว่า "มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์" ต่อมาเมื่อมีการพระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยมหิดล" ได้เปลี่ยนเป็นตราวงกลม 2 ชั้น วงกลมชั้นในมีพื้นหลังเป็นสีน้ำเงิน ตรงกลางเป็นตราประจำราชสกุลมหิดลสีเหลืองทอง ส่วนวงกลมชั้นนอกนั้นมีพื้นหลังสีขาวตัวอักษรสีเหลืองทองด้านบนเขียนว่า "อตฺตานํ อุปมํ กเร" ด้านล่างเขียนว่า "มหาวิทยาลัยมหิดล" คั่นด้วยดอกประจำยามสีเหลืองทอง ตรานี้ร่างและออกแบบโดยนายแพทย์นันทวัน พรหมผลิน และกอง สมิงชัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแก่หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี สถาปนิกพิเศษประจำสำนักพระราชวัง ในการปรับแก้ไขตรีและพระมหามงกุฎของตราให้เป็นแบบไทยและพระราชทานตราให้แก่มหาวิทยาลัยมหิดลเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีน้ำเงิน โดยสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีพระราชทานสีนี้ซึ่งเป็นสีแห่งความเป็นราชขัติยนุกูลแห่งบรมราชวงศ์ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือ ต้นกันภัยมหิดล ซึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระราชทานให้เป็นต้นไม้สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระบบหน่วยกิต ปัจจุบันมีการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยทั้งสิ้น 629 สาขาวิชา ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ทั้งในหลักสูตรไทยและหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่สามารถผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกได้มากที่สุดในประเทศ ในปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยรัฐที่มีปริมาณนักศึกษาต่างชาติมากที่สุด และใน พ.ศ. 2549 และได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณประเภทธุรกิจบริการดีเด่นกลุ่มการศึกษานานาชาติจากนายกรัฐมนตรี (Prime Minister’s Export Award 2006) เพื่อประกาศเกียรติคุณมหาวิทยาลัยมหิดลในฐานะที่ได้รับความนิยมจากชาวต่างประเทศมากที่สุด (Most recognized service) ในพิธีประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัล เมื่อวันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมหิดล มีส่วนงานและกลุ่มภารกิจในสังกัด ประกอบด้วย 17 คณะ 10 สถาบัน 6 วิทยาลัย 3 วิทยาเขต และหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ยังมีสถาบันสมทบอีกหลายสถาบัน ซึ่งนักศึกษาของบางสถาบันเข้าร่วมการเรียนการสอนกับมหาวิทยาลัยมหิดล ในขณะที่บางสถาบันมีหลักสูตรเป็นเอกเทศ พื้นที่ศาลายา ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนก หอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ห้องจดหมายเหตุแผนที่และผังแม่บท พิพิธสาระประชากรและสังคม พื้นที่บางกอกน้อย (ศิริราช) พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยาเอลลิส พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์  พิพิธภัณฑ์และห้องปฏิบัติการเรื่องราวก่อนประวัติศาสตร์ สุด แสงวิเชียร พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์คองดอน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ห้องสมเด็จพระบรมราชชนก ห้องมหิดลอดุลเดช หอสมุดศิริราช หอจดหมายเหตุศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล พิพิธภัณฑ์การพยาบาลไทย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน
โรงเรียนกวดวิชาบ้านครูตี๋ ประชาอุทิศ 14 ฝั่งธนบุรี สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด o net o-net onet ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4 onsite onsite เรียนออนไซต์ กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว ถนนราษฎร์บูรณะ tutor วิทย์ ติวเตอร์ ดีวีดี วีดีโอ ออนไลน์ DVD VDO online เรียนออนไซต์ มจธ. onsite KOSEN KMUTT kosen kmutt อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ video onsite เรียนออนไซต์ มจธ. KOSEN KMUTT kosen kmutt kosen มจธ. โคเซ็น มจธ. เรียนพิเศษใกล้ฉัน โรงเรียนอิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โรงเรียนวัดพุทธบูชา onsite เรียนออนไซต์ ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บางมด KMUTT เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? video วิทย์ บางมด เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี? ถนนพระราชวิริยาภรณ์ เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี? onsite เรียนออนไซต์ มจธ. KOSEN KMUTT kosen kmutt kosen มจธ. onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? ท่าข้าม สุขสวัสดิ์ พระราม2 ติวเตอร์ tutor จอมทอง กรุงเทพมหานคร โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิชา KOSEN ติวเตอร์ โคเซ็น มจธ. โรงเรียนดรุณสิกขาลัย A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ ท่าข้าม สุขสวัสดิ์ พระราม2 ติวเตอร์ tutor จอมทอง กรุงเทพมหานคร โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิชา KOSEN ติวเตอร์ โคเซ็น มจธ. โรงเรียนดรุณสิกขาลัย เขตราษฎร์บูรณะ ถนนสุขสวัสดิ์    สำหรับนักเรียนที่เตรียมสอบเข้าคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล   สำหรับนักเรียนที่เตรียมสอบเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล  สำหรับนักเรียนที่เตรียมสอบเข้าคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล   ติวสอบเข้ามหิดล   สอนพิเศษเข้ามหิดล   กวดวิชาเข้ามหิดล  เรียนพิเศษเข้ามหิดล   ติวเข้ามหิดล  ติวเข้าวิศวะมหิดล   สอนพิเศษเข้าวิศวะมหิดล  ติวเข้าวิทยามหิดล  สอนพิเศษเข้าวิทยามหิดล   ติวเข้าแพทย์มหิดล   สอนพิเศษเข้าแพทย์มหิดล  กวดวิชาเข้าแพทย์มหิดล  เรียนพิเศษเข้าแพทย์มหิดล
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้