เรียนพิเศษเขตลาดพร้าว
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS68
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ โรงเรียนกวดวิชาเขตลาดพร้าว สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตลาดพร้าว สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตลาดพร้าว สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตลาดพร้าว สอนพิเศษฟิสิกส์เขตลาดพร้าว เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ลาดพร้าว เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตลาดพร้าว เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตลาดพร้าว เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตลาดพร้าว
อยู่เขตลาดพร้าวเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตลาดพร้าว เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตลาดพร้าว เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตลาดพร้าว หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขต ลาดพร้าวหาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตลาดพร้าว  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตลาดพร้าว ครูสอนคณิตศาสตร์เขตลาดพร้าว ครูสอนฟิสิกส์เขตลาดพร้าว สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตลาดพร้าว เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตลาดพร้าว  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตลาดพร้าว เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตลาดพร้าว ครูเลขเขตลาดพร้าว ครูวิทย์เขตลาดพร้าว ติววิทยาศาสตร์เขตลาดพร้าว ติววิทย์เขตลาดพร้าว ติวคณิตเขตลาดพร้าว ติวเลขเขตลาดพร้าวหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตลาดพร้าว อยู่เขตลาดพร้าว โรงเรียนกวดวิชาเขตลาดพร้าว
ลาดพร้าว เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมืองทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ที่ตั้งและอาณาเขต เขตลาดพร้าวตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางเขน มีคลองหลุมไผ่ คลองสามขา คลองโคกคราม และคลองตาเร่งเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบึงกุ่ม เขตบางกะปิ และเขตวังทองหลาง มีถนนประดิษฐ์มนูธรรมฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตวังทองหลางและเขตห้วยขวาง มีถนนสังคมสงเคราะห์ ถนนโชคชัย 4 คลองทรงกระเทียม และคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตจตุจักร มีคลองลาดพร้าวและคลองบางบัวเป็นเส้นแบ่งเขต ประวัติศาสตร์ เดิมเขตลาดพร้าวมีฐานะเป็น ตำบลลาดพร้าว ขึ้นอยู่กับอำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร ต่อมาได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร เปลี่ยนเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกเขตการปกครองใหม่ด้วย ตำบลลาดพร้าวจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงลาดพร้าว และอยู่ในเขตการปกครองของสำนักงานเขตบางกะปิ เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกะปิ และตั้ง เขตลาดพร้าว และเขตบึงกุ่มกระทรวงมหาดไทยได้เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตลาดพร้าวใหม่ โดยแบ่งพื้นที่แขวงจรเข้บัวเฉพาะส่วนที่อยู่ฟากเหนือคลองสามขา คลองโคกคราม และคลองตาเร่งไปเป็นพื้นที่ของเขตบางเขนและเขตคันนายาว และแบ่งพื้นที่บางส่วนของแขวงลาดพร้าวไปจัดตั้งเป็นเขตวังทองหลาง ตามนโยบายของกรุงเทพมหานคร กระทรวงมหาดไทยได้โอนพื้นที่บางส่วนของเขตวังทองหลางมาเป็นส่วนหนึ่งของแขวงลาดพร้าว การคมนาคม ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนประเสริฐมนูกิจ ถนนลาดปลาเค้า ทางพิเศษฉลองรัช ถนนสังคมสงเคราะห์ ถนนนาคนิวาส ถนนโชคชัย 4 ถนนลาดพร้าววังหิน ถนนสุคนธสวัสดิ์ ถนนสตรีวิทยา 2 สถานที่สำคัญ วัดลาดพร้าว วัดสาครสุ่นประชาสรรค์ วัดสิริกมลาวาส วัดลาดปลาเค้า พระตำหนักพระแม่กวนอิมโชคชัย 4 เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ โลตัส สาขาเลียบทางด่วนรามอินทรา, สาขาวังหิน สยามแม็คโคร สาขาวังหิน , สาขาประดิษฐ์มนูธรรม โรงเรียนสตรีวิทยา 2 การสาธารณสุข โรงพยาบาลเปาโล เมโมเรียล โชคชัย 4 ศูนย์แพทย์เสนาเวชการคลินิก ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ตำหนักพระแม่กวนอิม โชคชัย 4 ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ตำหนักพระแม่กวนอิม จรเข้บัว ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ตำหนักพระแม่กวนอิม จันทร์–ทองอินทร์ ดวงเด่น ศูนย์บริการสาธารณสุข 15 ศูนย์บำบัดยาเสพติด2ลาดพร้าว ลาดพร้าว เป็นแขวงหนึ่งของเขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงลาดพร้าวตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตลาดพร้าว มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงจรเข้บัว (เขตลาดพร้าว) และแขวงท่าแร้ง (เขตบางเขน) มีซอยลาดปลาเค้า 13, ซอยลาดปลาเค้า 10, แนวเขตหมู่บ้านจิรัฐติกร, ซอยเสนานิคม 1 ซอย 25 (ฉัตรชัยร่วมมิตร), ถนนเสนานิคม 1, แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงลาดพร้าวกับแขวงจรเข้บัว, ซอยเสนานิคม 1 ซอย 42 แยก 1-2, ซอยแยกซอยสตรีวิทยา 2 ซอย 10, แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงลาดพร้าวกับแขวงจรเข้บัว, ถนนเสนานิคม 1, ซอยเสนานิเวศน์ ซอย 118, ซอยสุคนธสวัสดิ์ 1 (สุขทรัพย์), ซอยแยกซอยสุคนธสวัสดิ์ 1, ซอยเสนานิเวศน์ ซอย 108/5, ซอยเสนานิเวศน์ ซอย 110/3, แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงลาดพร้าวกับแขวงจรเข้บัว, ซอยประเสริฐมนูกิจ 29 (มัยลาภ), ซอยประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 4 (คงเพิ่มพูล) และคลองตาเร่งเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงนวลจันทร์ (เขตบึงกุ่ม) แขวงคลองจั่น (เขตบางกะปิ) และแขวงคลองเจ้าคุณสิงห์ (เขตวังทองหลาง) มีถนนประดิษฐ์มนูธรรมฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงสะพานสอง (เขตวังทองหลาง) มีถนนสังคมสงเคราะห์ ถนนโชคชัย 4 คลองทรงกระเทียม และคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงสามเสนนอก (เขตห้วยขวาง) แขวงจันทรเกษม และแขวงเสนานิคม (เขตจตุจักร) มีคลองลาดพร้าวและคลองบางบัวเป็นเส้นแบ่งเขต จรเข้บัว เป็นแขวงหนึ่งของเขตลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงจรเข้บัวตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเขตลาดพร้าว มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียง ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงอนุสาวรีย์และแขวงท่าแร้ง (เขตบางเขน) มีคลองหลุมไผ่ คลองสามขา และคลองโคกครามเป็นเส้นแบ่งเขต
 
ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงลาดพร้าว (เขตลาดพร้าว) มีซอยประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 4 (คงเพิ่มพูล), ซอยประเสริฐมนูกิจ 29 (มัยลาภ) และแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงลาดพร้าวกับแขวงจรเข้บัวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงลาดพร้าว (เขตลาดพร้าว) มีซอยเสนานิเวศน์ ซอย 110/3, ซอยเสนานิเวศน์ ซอย 108/5, ซอยแยกซอยสุคนธสวัสดิ์ 1, ซอยสุคนธสวัสดิ์ 1 (สุขทรัพย์), ซอยเสนานิเวศน์ ซอย 118, ถนนเสนานิคม 1, แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงลาดพร้าวกับแขวงจรเข้บัว, ซอยแยกซอยสตรีวิทยา 2 ซอย 10, ซอยเสนานิคม 1 ซอย 42 แยก 1-2, แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงลาดพร้าวกับแขวงจรเข้บัว, ถนนเสนานิคม 1, ซอยเสนานิคม 1 ซอย 25 (ฉัตรชัยร่วมมิตร), แนวเขตหมู่บ้านจิรัฐติกร, ซอยลาดปลาเค้า 10 และซอยลาดปลาเค้า 13 เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงเสนานิคม (เขตจตุจักร) มีคลองบางบัวเป็นเส้นแบ่งเขต ถนนประดิษฐ์มนูธรรม (อักษรโรมัน: Thanon Pradit Manutham) เป็นถนนเลียบทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา-อาจณรงค์หรือทางด่วนหมายเลข 3) เป็นถนนสายหลักสายหนึ่งที่เชื่อมระหว่างในเมืองกับชานเมืองด้านตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพมหานคร ชื่อถนน "ประดิษฐ์มนูธรรม" ตั้งตามราชทินนามของ "หลวงประดิษฐ์มนูธรรม" (ปรีดี พนมยงค์) รัฐบุรุษอาวุโส ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 หัวหน้าขบวนการเสรีไทย และผู้นำพลเรือนในคณะราษฎร เพื่อสดุดีเกียรติคุณของท่านในฐานะบุคคลสำคัญของชาติและในวาระที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก ประกาศให้ท่านเป็นบุคคลสำคัญของโลกในปี พ.ศ. 2543 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 100 ปี ชาตกาลของท่าน โดยกรุงเทพมหานครเป็นผู้จัดสร้างและดูแลรักษาถนนสายนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2546 กรุงเทพมหานครได้ให้ทางเขตวังทองหลางและเขตห้วยขวางเปลี่ยนชื่อถนนประดิษฐ์มนูธรรมเฉพาะช่วงถนนพระราม 9 ถึงถนนลาดพร้าวเป็นชื่อ "ถนนประเสริฐมนูกิจ" โดยให้เหตุผลว่าถนนสายนี้มีความยาวมาก ทำให้การระบุที่อยู่และชื่อผู้รับทางไปรษณีย์ทำได้ไม่สะดวก อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนชื่อถนนประดิษฐ์มนูธรรมช่วงดังกล่าวได้ก่อให้เกิดเสียงคัดค้านขึ้นทั่วไป ทางคณะกรรมการกลางตั้งชื่อถนน ตรอก ซอย วงเวียน ทางแยก คลอง สะพาน และสถานที่สำคัญในเขตกรุงเทพมหานครจึงได้พิจารณาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547 และให้เปลี่ยนชื่อถนนประเสริฐมนูกิจกลับมาเป็นถนนประดิษฐ์มนูธรรมตามเดิม ถนนประดิษฐ์มนูธรรมมีความยาว 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากปลายซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ในพื้นที่เขตห้วยขวาง มุ่งเหนือค่อนตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดผ่านถนนพระราม 9 ข้ามคลองลาดพร้าวเข้าสู่พื้นที่เขตวังทองหลาง ตัดกับถนนประชาอุทิศและถนนลาดพร้าว ข้ามคลองทรงกระเทียมเข้าสู่เขตลาดพร้าว (ฟากตะวันออกของถนนกลายเป็นเส้นแบ่งเขตปกครองระหว่างเขตลาดพร้าวกับเขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ และเขตบึงกุ่มตั้งแต่จุดนี้) จากนั้นตัดกับถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร-นวมินทร์) ข้ามคลองโคกครามเข้าสู่พื้นที่เขตบางเขน และไปสิ้นสุดเส้นทางที่ถนนรามอินทราบริเวณกิโลเมตรที่ 5.5 ถนนมีความกว้าง 6 ช่องจราจร (ขาเข้าและขาออกอย่างละ 3 ช่องจราจร) มีเกาะกลางถนน โดยมีทางด่วนยกระดับอยู่บนเกาะกลางถนนช่วงตั้งแต่ถนนพระราม 9 ถึงถนนรามอินทรา กล่าวได้ว่าถนนสายนี้ขนานขนาบทางด่วน ชาวบ้านจึงมักเรียกว่า "ถนนเลียบทางด่วนรามอินทรา" มีสะพานลอยรถข้ามทางแยกบริเวณจุดตัดถนนลาดพร้าวและถนนประเสริฐมนูกิจด้วย ถนนสายนี้ยังมีทางจักรยานขนานไปกับทางเท้าริมถนน เป็นตัวอย่างที่ดีของการออกแบบถนนสายใหม่ในกรุงเทพฯ และเมืองต่าง ๆ สองข้างทางปลูกต้นไม้หลายชนิดให้ความสวยงามร่มรื่น เช่น ต้นปาล์มน้ำมันที่ปลูกเป็นทิวแถวเรียงรายไปตามทางเท้าริมถนน ถัดจากแถวต้นปาล์มก็จะมีแนวต้นประดู่บ้านอยู่ริมทางจักรยานอีกด้วย ปัจจุบันมีร้านอาหารแบบสวนอาหารตั้งอยู่เรียงรายตลอดแนวถนน โดยเฉพาะบริเวณใกล้จุดตัดถนนประเสริฐมนูกิจซึ่งมีบรรยากาศแบบชายทุ่งชานเมือง นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาหมู่บ้านจัดสรรราคาสูงหลายโครงการบนถนนเส้นนี้บนพื้นที่ซึ่งเดิมเป็นพื้นที่ตาบอด แต่ปัจจุบันกลายเป็นทำเลทองที่ไม่ไกลจากใจกลางเมือง และยังมีห้างสรรพสินค้าตั้งอยู่เรียงรายตลอดแนวถนนอีกด้วย ถนนประเสริฐมนูกิจ หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 351 สายมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–คันนายาว หรือที่นิยมเรียกกันว่า ถนนเกษตร-นวมินทร์ เป็นเส้นทางจราจรระหว่างท้องที่เขตจตุจักร เขตลาดพร้าว เขตบึงกุ่ม และเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 11.656 กิโลเมตร เริ่มจากบริเวณถนนงามวงศ์วานตัดกับถนนพหลโยธินที่สี่แยกเกษตร เขตจตุจักร เป็นถนนขนาด 8 ช่องทางจราจร มุ่งไปทางทิศตะวันออกในพื้นที่แขวงเสนานิคม ข้ามคลองบางบัวเข้าสู่พื้นที่เขตลาดพร้าวในแขวงจรเข้บัว ตัดกับถนนลาดปลาเค้า จากนั้นมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสู่แขวงลาดพร้าว ตัดกับถนนสุคนธสวัสดิ์และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าสู่พื้นที่แขวงนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม ข้ามคลองลำเจียก ตัดกับถนนรัชดา-รามอินทรา ซ้อนกับแนวปากทางถนนนวลจันทร์และข้ามคลองบางขวดก่อนตัดกับถนนนวมินทร์ จากนั้นลดเหลือ 6 ช่องจราจร เข้าพื้นที่แขวงคลองกุ่ม ตรงไปทางทิศเดิม วกขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบวบขม ข้ามคลองลำปลาดุกเข้าสู่พื้นที่แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว และข้ามคลองครุก่อนไปสิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (ถนนคู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน)[1] ซึ่งในอนาคตอาจมีการก่อสร้างเป็นทางแยกต่างระดับด้วย ถนนลาดปลาเค้า (อักษรโรมัน: Thanon Lat Pla Khao) คือชื่อถนนสายหนึ่งของกรุงเทพมหานครที่อยู่ในการดูแลของสำนักการโยธา โดยเป็นถนนที่เชื่อมระหว่างถนนเสนานิคม 1 ถนนประเสริฐมนูกิจ และถนนรามอินทรา ชื่อถนนนั้นมาจากชื่อชุมชน คือ ชุมชนลาดปลาเค้า บริเวณที่ตั้งของชุมชนมีวัดชื่อ วัดลาดปลาเค้า เป็นวัดเก่าแก่ก่อตั้งมาก่อน พ.ศ. 2409 เดิมมีชื่อเรียกว่า "ราบปลาเค้า" เนื่องจากเป็นพื้นที่ราบ และมีปลาเค้า ซึ่งเป็นปลาหนังน้ำจืดชุกชุม ต่อมาจึงได้เพี้ยนเป็น ลาดปลาเค้า อย่างในปัจจุบัน ทางพิเศษฉลองรัช เป็นทางพิเศษในกรุงเทพมหานคร ก่อสร้างและเปิดให้บริการตลอดสาย เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2539 ดำเนินการโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย มีระยะทางทั้งสิ้น 28.2 กิโลเมตร ทางพิเศษสายนี้เป็นการแบ่งเบาการจราจรบนถนนรามอินทรา และทางพิเศษเฉลิมมหานคร มีด่านเก็บค่าผ่านทางรวมทั้งสิ้น 14 ด่าน รายละเอียดของเส้นทาง ช่วงที่ 1 รามอินทรา–อาจณรงค์ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยเปิดให้บริการทางพิเศษฉลองรัช ช่วงรามอินทรา–อาจณรงค์ เป็นช่วงแรก เป็นทางยกระดับขนาด 6 ช่องจราจร ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2539[2] โดยมีเส้นทางเริ่มจากบริเวณอาจณรงค์ (ปลายซอยสุขุมวิท 50) จากนั้นเส้นทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แล้วเลียบแนวคลองตันข้ามถนนสุขุมวิททางด้านตะวันตกของสะพานพระโขนง ตัดกับทางพิเศษศรีรัช ส่วน D พร้อมกับข้ามถนนรามคำแหง และถนนพัฒนาการ แล้วไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จากนั้นข้ามถนนพระราม 9 แล้วไปทางทิศเหนือ ข้ามถนนประชาอุทิศ ถนนลาดพร้าว ถนนประเสริฐมนูกิจ แล้วไปสิ้นสุดช่วงแรกที่ถนนรามอินทรา กิโลเมตรที่ 5.5 ที่บริเวณแยกด่วนรามอินทรา/วัชรพล มีด่านเก็บค่าผ่านทางรวมจำนวน 10 ด่าน นอกจากนี้ ยังมีการก่อสร้างถนนคู่ขนานระดับดินของกรุงเทพมหานคร มีชื่อว่าถนนประดิษฐ์มนูธรรม ซึ่งมีเขตติดต่อและขนานกับทางพิเศษฉลองรัช ก่อสร้างเป็นถนนขนาด 6 ช่องจราจร เริ่มต้นที่ถนนรามอินทรา
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้