ติวสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   เรียนพิเศษ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS68
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเรียนและสอนครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสิ้น 19 คณะ 1 สำนักวิชา 3 วิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน 2 สถาบัน และยังมีสถาบันสมทบอีก 2 สถาบัน ในปีการศึกษา 2556 เปิดสอนด้วยจำนวนหลักสูตรทั้งหมด 506 สาขาวิชา โดยจำแนกเป็นระดับปริญญาตรี 113 สาขาวิชา, หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 9 สาขาวิชา หลักสูตรระดับปริญญาโท 230 สาขาวิชา หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 39 สาขาวิชา และหลักสูตรระดับปริญญาเอก 115 สาขาวิชา ในจำนวนนี้เป็นหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาอังกฤษ 87 หลักสูตร ปัจจุบันประกอบด้วยส่วนงานทางวิชาการที่จัดการเรียนการสอน ได้แก่ คณะกลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะรัฐศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สำนักวิชาทรัพยากรการเกษตร สถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะจิตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะสัตวแพทยศาสตร์ หลักสูตรนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติทั้งหมด 87 หลักสูตร ส่วนที่จัดการสอนและงานวิจัยเฉพาะระดับบัณฑิตศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยประชากรศาสตร์ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันภาษา สถาบันสมทบ วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีส่วนงานที่มีวัตถุประสงค์หลักในการก่อตั้งเพื่อเป็นสถาบันวิจัยในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ สถาบันวิจัยพลังงาน สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ สถาบันวิจัยสังคม สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม สถาบันการขนส่ง สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ สถาบันเอเชียศึกษา หน่วยงานที่สนับสนุนการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ อีก ได้แก่ ศูนย์บริการวิชาการ (Unisearch) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้คณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยนำผลการศึกษาวิจัยออกสู่สังคมและหน่วยงานนอกมหาวิทยาลัย ส่วนหน่วยงานสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผลงานศึกษาวิจัยได้พัฒนาและนำไปสู่การจดสิทธิบัตรประเภทต่าง ๆ นอกจากนี้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังสนับสนุนทุนสำหรับการสร้างหน่วยปฏิบัติการวิจัย (RU) และศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (CE) ปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีหน่วยปฏิบัติการวิจัยมากกว่า 100 หน่วย และมีศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางทั้งในระดับชาติและมหาวิทยาลัยมากกว่า 20 ศูนย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้กำหนดให้มีกลุ่มวิจัยหลักซึ่งเป็นการรวมศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางและนักวิชาการที่มีเฉพาะเรื่องเข้ามาบูรณาการให้เป็นการวิจัยแบบสหศาสตร์ รวมทั้ง เน้นการบริหารจัดการการวิจัยที่เป็นองค์รวม มีการติดตามและประเมินผลแบบอัตโนมัติ โดยแบ่งออกเป็น 10 กลุ่มวิจัยหลัก ได้แก่ กลุ่มวิจัยด้านพลังงาน กลุ่มวิจัยด้านอาหารและน้ำ กลุ่มวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลุ่มวิจัยด้านสุขภาพ กลุ่มวิจัยด้านสังคมผู้สูงวัย กลุ่มวิจัยวัสดุขั้นสูง กลุ่มวิจัยความมั่นคงมนุษย์ กลุ่มวิจัยด้านพัฒนาสังคม กลุ่มวิจัยด้านอาเซียนศึกษา กลุ่มวิจัยด้านการจัดการภัยพิบัติ ปี พ.ศ. 2559 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทยจากการจัดอันดับของ Nature Index ซึ่งจัดโดยวารสารในเครือ Nature Publishing Group ซึ่งเป็นวารสารทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีชื่อเสียงชั้นนำของโลก ใน พ.ศ. 2558 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติในฐานข้อมูล Web of Science ของสถาบัน ISI บริษัท Thomson Reuters จำนวน 1,567 เรื่อง และผลงานตีพิมพ์ฐานข้อมูล Scopus ของบริษัท Elsevier B.V. จำนวน 1988 เรื่อง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยระดับนานาชาติของประเทศไทยในหลายด้าน เช่น องค์การอนามัยโลก เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) และ สมาคมสถาบันการศึกษาชั้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASAIHL) ศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลกที่ตั้งอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีดังนี้ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา - WHO Collaborating Centre for Medical Education ตั้งอยู่ที่คณะแพทยศาสตร์  ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ - WHO Collaborating Centre for Research in Human Reproduction ตั้งอยู่ที่คณะแพทยศาสตร์  ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน - WHO Collaborating Centre for Research and Training on Viral Zoonoses ตั้งอยู่ที่คณะแพทยศาสตร์ ศูนย์ความร่วมมือด้านเศรษฐศาสตร์สุขภาพ - WHO Collaborating Centre for Health Economics ตั้งอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมพัฒนาการสาธารณสุข - WHO Collaborating Centre for Research and Training in Public Health Development ตั้งอยู่ที่วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ทรัพยากรวิชาการ ระบบการให้บริการทางวิชาการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีสำนักงานวิทยทรัพยากรเป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการในหลายลักษณะ นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอื่นที่ทำหน้าที่ให้บริการทางวิชาการ เช่น สถานีวิทยุจุฬาฯ FM 101.5 MHz เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุด (Chulalinet) และ CHULA MOOC สำนักงานวิทยทรัพยากร อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษาหรืออาคารจามจุรี 10 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มมีการให้บริการทางวิชาการขึ้นในมหาวิทยาลัยแก่บุคลากร นิสิตและประชาชนทั่วไปตั้งแต่เริ่มมีการก่อตั้งห้องสมุดโรงเรียนข้าราชการพลเรือนขึ้นใน พ.ศ. 2453 และมีพัฒนาการด้านการบริการไปพร้อมกับการวิวัฒน์ขึ้นของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน[116] เพื่อเป็นการรองรับกิจการที่กว้างขวางขึ้นของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ใน พ.ศ. 2458 ห้องสมุดโรงเรียนข้าราชการพลเรือนจึงเปลี่ยนชื่อเป็นหอสมุดกลางและขยายการบริการทางวิชาการให้กว้างขวางขึ้น โดยตั้งอยู่ที่คณะอักษรศาสตร์ จนกระทั่ง วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย[117] ต่อมา มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 โดยการรวมหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงาน คือ หอสมุดกลาง ศูนย์เอกสารประเทศไทย และศูนย์โสตทัศนศึกษากลาง เมื่อสถาบันวิทยบริการมีการขยายงานบริการที่หลากหลายขึ้นจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานวิทยทรัพยากรพร้อมทั้งปรับการบริหารภายในองค์กร สำนักงานวิทยทรัพยากรตั้งอยู่ที่อาคารมหาธีรราชานุสรณ์ บนพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันตกของถนนพญาไท ปัจจุบัน สำนักงานวิทยทรัพยากรประกอบด้วย 4 ฝ่าย และ 1 ศูนย์ดังนี้ ฝ่ายบริหาร (Administrative Division) ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด (Library Information Technology Division) ฝ่ายบริการข้อมูลสารสนเทศ (Multimedia Information Service Division) ฝ่ายจัดการข้อมูลสารสนเทศ (Library Information Management Division) ศูนย์สารสนเทศประเทศไทยและประชาคมอาเซียน (Thailand and ASEAN Information Center) หอสมุดกลาง (สำนักงานวิทยทรัพยากร) สำนักงานวิทยทรัพยากร (หอสมุดกลาง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ "หอกลาง" ตั้งอยู่ภายในอาคารมหาธีรราชานุสรณ์ เป็นอาคารสูง 8 ชั้น แต่ละชั้นประกอบด้วยห้องสมุดสาขาวิชาและหน่วยงานอื่น ๆ ดังนี้ ชั้น B ชั้นเก็บหนังสือปีพิมพ์เก่า (Stack) ชั้น 1 เป็นชั้นอำนวยการบริการต่าง ๆ เช่น บริการยืม-คืน บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า บริการเครื่องพิมพ์ บริการถ่ายเอกสาร ร้านกาแฟ ชั้น 2 เป็นพื้นที่อ่านหนังสือและห้องอ่านหนังสือกลุ่ม ส่วนวิทยานิพนธ์ ได้ย้ายสถานที่ให้บริการไปยังอาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา หรืออาคารจามจุรี 10 และยังให้บริการแบบออนไลน์ในคลังปัญญาจุฬาฯ เพื่อประเทศไทย (CUIR – Chulalongkorn University Intellectual Repository)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อังกฤษ: Chulalongkorn University; อักษรย่อ: จฬ. หรือ จุฬาฯ – CU or Chula) เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน" ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2442 โดยมี "พระเกี้ยว" เป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน พ.ศ. 2459 (นับแบบเก่า) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐานขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย และพระราชทานนามว่า "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้น ๆ ของประเทศไทย และได้รับเลือกให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับที่ 1 โดยผู้จัดอันดับหลายสำนัก หนึ่งในมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 และได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาในระดับดีมากจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เป็นสมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN) และเป็นมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิกของสมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก (APRU) ในส่วนของการรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษานั้นพบว่า ผู้สมัครสอบที่ทำคะแนนรวมสูงสุดในแต่ละปีส่วนใหญ่เลือกเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประกอบด้วย 19 คณะ 1 สำนักวิชา ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ และมีหน่วยงานประเภท วิทยาลัย 3 แห่ง บัณฑิตวิทยาลัย 1 แห่ง สถาบัน 14 แห่ง และสถาบันสมทบอีก 2 สถาบัน จำนวนหลักสูตรรวมทั้งสิ้น 506 หลักสูตร ประกอบด้วย ระดับปริญญาตรี 113 หลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา 393 หลักสูตร ในจำนวนนี้เป็นหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาอังกฤษ 87 หลักสูตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเรียนและสอนครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งสิ้น 19 คณะ 1 สำนักวิชา 3 วิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน 2 สถาบัน และยังมีสถาบันสมทบอีก 2 สถาบัน ในปีการศึกษา 2556 เปิดสอนด้วยจำนวนหลักสูตรทั้งหมด 506 สาขาวิชา โดยจำแนกเป็นระดับปริญญาตรี 113 สาขาวิชา, หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 9 สาขาวิชา หลักสูตรระดับปริญญาโท 230 สาขาวิชา หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 39 สาขาวิชา และหลักสูตรระดับปริญญาเอก 115 สาขาวิชา ในจำนวนนี้เป็นหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาอังกฤษ 87 หลักสูตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มมีการให้บริการทางวิชาการขึ้นในมหาวิทยาลัยแก่บุคลากร นิสิตและประชาชนทั่วไปตั้งแต่เริ่มมีการก่อตั้งห้องสมุดโรงเรียนข้าราชการพลเรือนขึ้นใน พ.ศ. 2453 และมีพัฒนาการด้านการบริการไปพร้อมกับการวิวัฒน์ขึ้นของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน เพื่อเป็นการรองรับกิจการที่กว้างขวางขึ้นของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ใน พ.ศ. 2458 ห้องสมุดโรงเรียนข้าราชการพลเรือนจึงเปลี่ยนชื่อเป็นหอสมุดกลางและขยายการบริการทางวิชาการให้กว้างขวางขึ้น โดยตั้งอยู่ที่คณะอักษรศาสตร์ จนกระทั่ง วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมา มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2521 โดยการรวมหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงาน คือ หอสมุดกลาง ศูนย์เอกสารประเทศไทย และศูนย์โสตทัศนศึกษากลาง เมื่อสถาบันวิทยบริการมีการขยายงานบริการที่หลากหลายขึ้นจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นสำนักงานวิทยทรัพยากรพร้อมทั้งปรับการบริหารภายในองค์กร สำนักงานวิทยทรัพยากรตั้งอยู่ที่อาคารมหาธีรราชานุสรณ์ บนพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันตกของถนนพญาไท ปัจจุบัน สำนักงานวิทยทรัพยากรประกอบด้วย 4 ฝ่าย และ 1 ศูนย์ดังนี้ ฝ่ายบริหาร (Administrative Division)  ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด (Library Information Technology Division)  ฝ่ายบริการข้อมูลสารสนเทศ (Multimedia Information Service Division)   ฝ่ายจัดการข้อมูลสารสนเทศ (Library Information Management Division)   ศูนย์สารสนเทศประเทศไทยและประชาคมอาเซียน (Thailand and ASEAN Information Center) ส่วนการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยครั้งที่ 3 ในปี 2554 พบว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการประเมินในระดับ 5 หรือในระดับดีเยี่ยมในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มสาขาเทคโนโลยี กลุ่มสาขาแพทยศาสตร์และทันตแพทยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ นอกจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยหน่วยงานในประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีเกณฑ์การจัดอันดับและการให้คะแนนที่แตกต่างกัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมักได้รับเลือกให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับที่ 1 ของประเทศไทยอยู่บ่อยครั้ง ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 คอกโครัลลีไซมอนส์ ซึ่งเป็นบริษัทจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดแห่งหนึ่ง จัดอันดับให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยอันดับที่ 96 ของโลกในด้านวิชาการ นับเป็นอันดับของมหาวิทยาลัยไทยที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาก่อนหน้านี้ใน พ.ศ. 2561 คอกโครัลลีไซมอนส์เคยจัดอันดับให้สาขาวิศวกรรมเคมีและสาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ติดอันดับต่ำกว่า 100 ของโลกมาแล้ว นอกจากนี้ ยังมีอีก 19 สาขาวิชาของมหาวิทยาลัยที่ถูกจัดให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศ หน่วยงานอื่น ๆ ที่จัดอันดับให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ ได้แก่ มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวทง, CWTS Leiden University, Center for World University Rankings, Nature Index, RUR Rankings Agency และ Webometrics ในขณะที่ SCImago Institutions Ranking, The Times Higher Education  University Ranking by Academic Performance และ U.S. News & World Report จัดอันดับให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นอันดับที่ 2 ประเทศ ชั้น 3 บริการผลิตสื่อมัลติมีเดีย บริการห้องประชุม และศูนย์สัมผัสวัฒนธรรมจีน สถาบันขงจื่อศึกษา ชั้น 4 ห้องหนังสือมนุษยศาสตร์และวรรณกรรม ห้องหนังสือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และห้องอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 5 ห้องหนังสือสังคมศาสตร์ ชั้น 6 ศูนย์สารสนเทศประเทศไทยและประชาคมอาเซียน ห้องหนังสือหายากและสิ่งพิมพ์พิเศษ ชั้น 7 นิทรรศการจุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย นิทรรศการและคลังสารสนเทศดิจิทัล “จุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย” ประกอบด้วยพระปรีชาญาณและพระมหากรุณาธิคุณ ข้อมูลสำคัญทางประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ และเรื่องราวในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
 สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย  วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ เรียนออนไซต์ onsite อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  onsite เรียนออนไซต์  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี?วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี? onsite เรียนออนไซต์ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์  ติวสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   เรียนพิเศษเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   สอนพิเศษเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย    กวดวิชาเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย   โรงเรียนกวดวิชาเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย     ติวเตอร์เข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย    ติวเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย    แนวข้อสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เก็งข้อสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้