ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   เรียนพิเศษ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS68
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีพื้นที่จัดการเรียนการสอนใน 5 พื้นที่ ได้แก่ บางเขน กรุงเทพมหานคร วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร และโครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนทางด้านโครงการจัดตั้งวิทยาเขตลพบุรี ได้มีมติสภามหาวิทยาลัยให้ตั้งเป็น สถานีวิจัยในสังกัดสถาบันอินทรีจันทรสถิตย์ มีการจัดการเรียนการสอนเป็นการจัดการเรียนการสอนนอกสถานที่ภายในจังหวัดลพบุรี และโครงการจัดตั้งวิทยาเขตกระบี่ ให้ตั้งเป็นศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จังหวัดกระบี่ เพื่อให้บริการในลักษณะการต่อยอดด้านวิชาการต่าง ๆ  บางเขน บางเขน หรือ เกษตรกลาง เป็นวิทยาเขตแรกและวิทยาเขตหลักของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แต่เดิมคือสถานีเกษตรกลางซึ่งจัดตั้งโดยกระทรวงเกษตราธิการในปี พ.ศ. 2481 ก่อนจะมีการจะย้ายวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จากแม่โจ้มาบางเขน และสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในปี พ.ศ. 2486 ปัจจุบัน เกษตรกลาง บางเขน มีหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอน 18 คณะ 2 วิทยาลัย และ 1 โครงการจัดตั้ง โดยมีคณะสหวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีป็นคณะล่าสุดของมหาวิทยาลัยและวิทยาเขต (โดยมีความรับผิดชอบในการจัดการเรียน-การสอน ณ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี) สำหรับวิทยาเขตบางเขนมีรายละเอียดหน่วยงานระดับคณะเปิดทำการเรียนการสอนประกอบด้วย ดังนี้ คณะเกษตร คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ คณะบริหารธุรกิจ คณะประมง คณะแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ คณะวนศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสหวิทยาการจัดการและเทคโนโลยี (ดำเนินการ ณ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี) คณะสังคมศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะสิ่งแวดล้อม คณะอุตสาหกรรมเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบูรณาการศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ (โครงการจัดตั้ง) วิทยาเขตกำแพงแสน วิทยาเขตกำแพงแสน ตั้งอยู่ที่อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม จัดตั้งขึ้นเป็นวิทยาเขตลำดับที่ 2 ตามดำริของหม่อมหลวงชูชาติ กำภู อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คนที่ 5 หลังจากที่ได้พิจารณาว่าพื้นที่เกษตรกลาง บางเขน คับแคบและไม่สามารถรองรับการขยายงานด้านการศึกษาทางเกษตรให้กว้างขวางเพื่อรับกับภาวะการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติได้ โดยวิทยาเขตกำแพงแสนได้เริ่มจัดการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 ปัจจุบัน มีหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอน 6 คณะ คือ คณะเกษตร กำแพงแสน คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ คณะอุตสาหกรรมบริการ และ 3 คณะ และ 1 วิทยาลัยที่เป็นส่วนงานของมหาวิทยาลัย อันมีที่ตั้งอยู่ในวิทยาเขตบางเขน ที่ดำเนินการจัดการเรียนการสอน 2 วิทยาเขต ประกอบด้วย คณะประมง (โดยนำหลักสูตรมาเปิดในวิทยาเขตกำแพงแสน เริ่มปีการศึกษา 2554) คณะสิ่งแวดล้อม คณะสัตวแพทยศาสตร์ (นิสิตศึกษาที่เกษตรกลาง บางเขน ปี 1-3 และวิทยาเขตกำแพงแสน ปี 4-6) บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร จัดตั้งเป็นวิทยาเขตลำดับที่ 3 เริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2538 แรกเริ่มได้ใช้ชื่อว่า "วิทยาเขตสกลนคร (ภูพานกาญจนาภิเษก)" ต่อมาจึงได้รับพระราชทานนามใหม่จากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็น "วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร" โดยการจัดตั้งวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่มุ่งเน้นการขยายโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาไปสู่ภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าวิจัย รวบรวมข้อมูลและให้บริการวิชาการต่าง ๆ พร้อมทั้งสนับสนุนและช่วยเหลือทางด้านวิชาการแก่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและโครงการศิลปาชีพ[54] ปัจจุบัน มีหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอน 4 คณะ คือ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ คณะสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วิทยาเขตศรีราชา ตั้งอยู่ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีจุดเริ่มต้นมาจากการที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับพื้นที่บริเวณทุ่งเลี้ยงสัตว์เชิงเขาน้ำซับจากกระทรวงมหาดไทย ตั้งเป็นสถานีวิจัยศรีราชาเพื่อใช้พื้นที่วิจัยและฝึกงานของนิสิตคณะเกษตรในปี พ.ศ. 2498 โดยสถาบันวิจัยศรีราชาได้ปรับเปลี่ยนเป็นวิทยาลัยชุมชนศรีราชาในปี พ.ศ. 2535 และวิทยาเขตศรีราชาในปี พ.ศ. 2542 เนื่องจากความต้องการในการขยายโอกาสทางการศึกษาและรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ชายฝั่งตะวันออก โดยได้รับนิสิตเข้าศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2539[55] ประกอบกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ขอใช้พื้นที่จากกรมป่าไม้ 989 ไร่ ในอำเภอบ่อทองเพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์นวัตกรรมการเกษตรบ่อทองเพื่อเติมให้วิทยาเขตศรีราชาด้วย ปัจจุบัน วิทยาเขตศรีราชามีหน่วยงานที่จัดการเรียนการสอน 5 คณะ ประกอบด้วย คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศรีราชา โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี ก่อตั้งขึ้นเพื่อการขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยังพื้นที่ภูมิภาคตะวันตกของประเทศ โดยเริ่มดำเนินการโครงการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ซึ่งทางจังหวัดสุพรรณบุรีได้จัดหาที่สาธารณประโยชน์ในอำเภอเมืองสุพรรณบุรีและอำเภอบางปลาม้าเพื่อรองรับโครงการจัดตั้งวิทยาเขต ในปัจจุบัน ยังไม่มีการจัดตั้งคณะอย่างเป็นทางการในโครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มอบหมายให้คณะในบางเขนและวิทยาเขตกำแพงแสนรับผิดชอบ ในยุคเริมแรกได้มีการเปิดสอนในบางหลักสูตรแล้ว คือ หลักสูตรบริหารธุรกิจสาขาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว (4 ปี) (ภาคพิเศษ) อยู่ในความดูแลของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ต่อเนื่อง) (ภาคพิเศษ) หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (ภาคพิเศษ) หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ (ภาคพิเศษ) อยู่ในความดูแลของคณะสังคมศาสตร์ ปี 2566 สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ประกาศจัดตั้งคณะสหวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีขึ้นเป็นส่วนงานสังกัดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน เพื่อมารับผิดชอบการเรียน การสอน ณ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรี ทั้งนี้ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตฯ ยังไม่เป็นส่วนงานในระดับวิทยาเขต อันเนื่องจาก วิทยาเขตจะต้องประกอบด้วย คณะวิชา 2 คณะขึ้นไป) ประกอบกับมหาวิทยาลัยฯ ได้โอนบุคคลากรโครงการจัดตั้ง ฯ มาสังกัดคณะดังกล่าวเพื่อให้การดำเนินงานเกิดความคล่องตัวขึ้น สถาบันสมทบ วิทยาลัยการชลประทาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก. – KU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตรก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ แรกเริ่มเป็น โรงเรียนช่างไหม ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2447 ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนการเพาะปลูก หลังจากนั้นรวมเข้ากับโรงเรียนแผนที่และโรงเรียนกรมคลองเป็น โรงเรียนเกษตราธิการ และถูกยุบรวมเข้ากับโรงเรียนข้าราชการพลเรีอนฯ ในปี พ.ศ. 2456 ต่อมาได้รับการก่อตั้งอีกครั้งในปี พ.ศ. 2460 ในนาม โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม ก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรม และได้รับการยกฐานะเป็น วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถัดจากนั้นมา รัฐบาลได้ปรับปรุงและรวมกิจการของวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่เกษตรกลาง บางเขน กับโรงเรียนวนศาสตร์ จังหวัดแพร่ และสถาปนาเป็น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2486 ระยะแรก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปิดสอนเฉพาะด้านการเกษตรเท่านั้น แต่ต่อมาได้ขยายสาขาวิชาครอบคลุมทั้งเกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิศวกรรมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ บริหารธุรกิจ และงานบริการ ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2558 ซึ่งมีสภาพเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ การประเมินของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) โดยจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาผลปรากฏว่าในการประเมินครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับการประเมินในระดับดีมากในสาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช (Pest Management) จากภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร อีกทั้งยังได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติจากกระทรวงศึกษาธิการในปี พ.ศ. 2552 อีกด้วย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มี 3 วิทยาเขตได้แก่ วิทยาเขตกำแพงแสน วิทยาเขตศรีราชา และวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ทั้งยังมีโครงการจัดตั้งวิทยาเขตสุพรรณบุรีอีกหนึ่งแห่งด้วย เปิดการสอน 29 คณะ 2 วิทยาลัย และสถาบันสมทบอีก 2 แห่ง มีหลักสูตร 583 หลักสูตร เป็นหลักสูตรนานาชาติ 42 หลักสูตร นอกจากนี้ ยังได้จัดตั้งสถาบันวิจัยขึ้นตามจังหวัดต่าง ๆ หลายแห่งเพื่อดำเนินการวิจัยในศาสตร์ต่าง ๆ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้คำว่า "เกษตรศาสตร์" เป็นชื่อภาษาไทยของมหาวิทยาลัย และใช้อักษรโรมันว่า "Kasetsart" "เกษตรศาสตร์" มาจากคำว่า เกษตร (เขต หรือ แผ่นดิน) และ ศาสตร์ (ความรู้ หรือ การศึกษา) ซึ่งรวมกันมีความหมายโดยทั่วไปว่า การศึกษาเกี่ยวกับเขตและแผ่นดิน หรือ ศาสตร์แห่งแผ่นดิน คำนี้ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Agriculture แปลว่า การเพาะปลูกแบบรูปธรรม มีรากคำมาจากภาษาละตินคือคำว่า agrīcultūra: agrī หมายความถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรม และคำว่า cultūra หมายความถึง วัฒนธรรม สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นหรือ การเพาะปลูก คำว่า "เกษตร" อันเป็นชื่อของมหาวิทยาลัยนั้น มีที่มาจากกระทรวงเกษตราธิการต้องการจัดตั้งสถาบันการศึกษาวิชาการเกษตรอันเนื่องด้วยวิชาการผลิตและการค้าเพื่อผลิตคนเข้ารับราชการในกรมกองต่าง ๆ ของกระทรวงเป็นการเฉพาะ ในระหว่าง พ.ศ. 2518 ได้มีความพยายามในการเปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จากบุคคลกลุ่มหนึ่ง ทำให้เกิดข้อวิพากษ์จำนวนมากต่อกรณีดังกล่าว และมีการแถลงข่าวเพื่อโต้ข้อพิพาทระหว่างฝ่ายที่อยากให้เปลี่ยนชื่อและไม่ประสงค์ให้เปลี่ยนชื่อ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้อนุญาตให้นิสิตหยุดเรียนครึ่งวันเพื่อจัดทำประชามติในเรื่องนี้ ภายหลังจึงมีการเห็นสมควรให้มีการใช้ชื่อ เกษตรศาสตร์ เป็นชื่อของมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นการระลึกและย้ำเตือนถึงศาสตร์อันเป็นรากฐานวัฒนธรรม ความรู้ และวิทยาการของแผ่นดินไทย จนกระทั่งปี พ.ศ. 2520 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้มีพระราชดำรัสถึงความหมายของคำว่าเกษตรศาสตร์ตามชื่อของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ไว้ว่า คำว่าเกษตรศาสตร์ อันเป็นชื่อของมหาวิทยาลัยนี้นั้น ฟังดูมีความหมายจำกัดอยู่เพียงการทำนา แต่ความจริง เกษตรศาสตร์ ตามความหมายในปัจจุบัน กินความกว้างขวางมาก คือรวมเอาวิชาหรือศาสตร์ทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจิตใจของมนุษย์เข้าไว้เกือบทั้งหมด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงสอนวิชาการสาขาต่าง ๆ มากมายหลายสาขา ทั้งฝ่ายวิทยาศาสตร์ ทั้งฝ่ายศิลปศาสตร์ เรียกได้ว่าครบถ้วนที่จะเป็นมหาวิทยาลัยในความหมายสากลอย่างสมบูรณ์ คำ "เกษตรศาสตร์" ที่เป็นวิสามานยนามอันเป็นชื่อมหาวิทยาลัยแห่งนี้ อ่านว่า "กะ-เสด-สาด" แต่ในกรณีที่หมายถึงวิชาว่าด้วยการเกษตร คำนี้อ่านว่า "กะ-เสด-ตฺระ-สาด" ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นไปตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดภาพเครื่องหมายราชการตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายราชการ พ.ศ. 2482 (ฉบับที่ 247) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เล่มที่ 126 ตอนพิเศษ 98 ง โดยตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์แบ่งเป็น 2 ภาค ได้แก่ ภาคภาษาไทย ตรามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นรูปวงกลม มีรูปพระพิรุณทรงนาคอยู่กึ่งกลาง ล้อมรอบด้วยกลีบบัวคว่ำและกลีบบัวหงาย และมีข้อความ "มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๔๘๖" ล้อมรอบเป็นชั้นนอกสุด สีตราประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้แก่ สีเขียวใบไม้ ภาคภาษาอังกฤษ มีองค์ประกอบเหมือนกับภาคภาษาไทย แต่เปลี่ยนจากอักษรภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ โดยใช้ข้อความ "KASETSART UNIVERSITY 1943" มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน, วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม, วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี และวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ตำบลกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา  อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และพื้นที่ศูนย์นวัตกรรมการเกษตรบ่อทอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย  วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด o net o-net onet ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ ออนไลน์ online เรียนออนไซต์ onsite อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  onsite เรียนออนไซต์  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? video วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี? onsite เรียนออนไซต์ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   เรียนพิเศษเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์    สอนพิเศษเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์     กวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   โรงเรียนกวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์     ติวเตอร์เข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์     ติวเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์    แนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์    เก็งข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้